บ้านที่อยู่อาศัย
- กฎหมาย (13)
- การดูแลรถ (1)
- เครื่องมือช่าง (2)
- งานช่าง (186)
- งานสี (16)
- จัดซื้อจัดจ้าง (7)
- จัดซื้อจัดจ้างงานรัฐ (3)
- ธุรกิจ (20)
- บทความ seo (24)
- บ้านเชียงใหม่ (2)
- บ้าน ที่อยู่อาศัย (100)
- บ้านหรู เชียงใหม่ (10)
- ประกวดราคา (4)
- ผู้รับเหมา (55)
- รับเหมาก่อสร้าง (43)
- แร็ปสีรถ (1)
- วัสดุช่าง (2)
- สัญญช่าง (1)
- สัญญาช่าง (2)
- สุขภาพ (6)
- เสาเข็ม (1)
- หาช่าง (61)
- อาหารเครื่องดื่ม (1)
- อาหารญี่ปุ่น (2)
วันศุกร์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2559
สัญญาว่าจ้างไม่เป็นธรรมกับ ผู้รับเหมา จะทำอย่างไร
ในการทำงาน รับเหมาก่อสร้าง นั้น เชื่อว่า ผู้รับเหมา ทุกท่านทราบดีว่าเราจำเป็นจะต้องยึดตัวสัญญาว่าจ้าง เป็นหลักในการดำเนินการ และทำงานให้แล้วเสร็จตามสัญญาที่ได้ตกลงกันไว้ แต่อย่างไรก็ตาม มันมีในบางครั้งบางกรณี ที่ ผู้รับเหมาก่อสร้าง เกิดความรู้สึกว่า... สัญญานั้นทำให้เกิดปัญหา หรือทำให้ผู้รับเหมารู้สึก ว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมหรือถูกเอารัดเอาเปรียบ ! ซึ่งบางครั้งกว่าจะรู้ตัวก็ได้เซ็นสัญญาไปแล้ว กลายเป็นรู้สึกว่าต้องจำใจทำเพื่อไม่ให้ถูกปรับจากการทำผิดสัญญา ซึ่งก็เกิดคำถามขึ้นว่า... หากรู้สึกว่าสัญญาว่าจ้างไม่เป็นธรรมกับตัวของ ผู้รับเหมา จะสามารถดำเนินการอย่างใดได้บ้างหรือไม่ ในกรณีที่เซ็นสัญญากับเขาไปแล้ว !??
สำหรับเรื่องนี้... ถือเป็นปัญหาใหญ่ที่ทำให้ ผู้รับเหมา หรือช่าง บางรายเกิดความกังวลใจ ส่วนใหญ่สาเหตุเกิดจากการที่ไม่ได้ศึกษาตัว สัญญารับเหมาก่อสร้าง ให้เข้าใจอย่างละเอียดเสียก่อน บางทีก็รีบร้อนรับงาน เพราะต้องการให้มีงานเข้ามา มีรายได้เพื่อจะได้นำไปเป็นค่าใช้จ่ายสำหรับตัวเองและลูกน้องในทีม ทำให้ตัดสินใจรับงานไปแบบไม่ทันได้พิจารณาให้รอบคอบ แต่เมื่อทำงานไปแล้วก็จึงเกิดความรู้สึกว่ามันเป็นปัญหา !
แต่ไม่ต้องกังวลไป ! หากว่ามีความไม่เป็นธรรมเกิดขึ้น เราสามารถแก้ไขปัญหาได้.... และสามารถทำได้หลายระดับ ตั้งแต่ในขั้นตอนการตกลงแก้ไขสัญญาใหม่ ให้เกิดความเป็นธรรมทั้งสองฝ่าย ไปจนถึงการ ยกเลิกสัญญา ! ซึ่งสามารถกระทำได้ตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. 2540 มาตรา 4 แต่ในกรณีนั้น จำเป็นจะต้องยื่นเรื่องต่อศาล
แต่อย่างแรกที่เราจะต้องมาพิจารณากันก่อน ก็คือ... เรื่องที่ว่า... สัญญานั้นไม่เป็นธรรมจริงๆ หรือไม่ !!?
ซึ่งการที่จะพิจารณาว่าสัญญาไม่เป็นธรรมสามารถพิจารณาได้จาก การดูว่า สัญญานั้นมีการยกเว้นหรือจำกัดความผิดจากการเกิดสัญญาเกินกว่าที่คาดหมาย หรือไม่ คือ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่ต้องรับชอบเกินกว่าที่ควรจะเป็น หรือ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งต้องรับผิดชอบมากกว่าตามที่กฎหมายกำหนด มีการยกเลิกสัญญาโดยไม่มีเหตุที่สมควร หรือ มีการเรียกร้องที่มากกว่าที่ควรเกิดขึ้นในสัญญา มีการคิดค่าปรับความเสียหายสูงเกินกว่าที่ควร... เป็นต้น !
สำหรับเรื่องนี้... ถือเป็นปัญหาใหญ่ที่ทำให้ ผู้รับเหมา หรือช่าง บางรายเกิดความกังวลใจ ส่วนใหญ่สาเหตุเกิดจากการที่ไม่ได้ศึกษาตัว สัญญารับเหมาก่อสร้าง ให้เข้าใจอย่างละเอียดเสียก่อน บางทีก็รีบร้อนรับงาน เพราะต้องการให้มีงานเข้ามา มีรายได้เพื่อจะได้นำไปเป็นค่าใช้จ่ายสำหรับตัวเองและลูกน้องในทีม ทำให้ตัดสินใจรับงานไปแบบไม่ทันได้พิจารณาให้รอบคอบ แต่เมื่อทำงานไปแล้วก็จึงเกิดความรู้สึกว่ามันเป็นปัญหา !
แต่ไม่ต้องกังวลไป ! หากว่ามีความไม่เป็นธรรมเกิดขึ้น เราสามารถแก้ไขปัญหาได้.... และสามารถทำได้หลายระดับ ตั้งแต่ในขั้นตอนการตกลงแก้ไขสัญญาใหม่ ให้เกิดความเป็นธรรมทั้งสองฝ่าย ไปจนถึงการ ยกเลิกสัญญา ! ซึ่งสามารถกระทำได้ตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. 2540 มาตรา 4 แต่ในกรณีนั้น จำเป็นจะต้องยื่นเรื่องต่อศาล
แต่อย่างแรกที่เราจะต้องมาพิจารณากันก่อน ก็คือ... เรื่องที่ว่า... สัญญานั้นไม่เป็นธรรมจริงๆ หรือไม่ !!?
ซึ่งการที่จะพิจารณาว่าสัญญาไม่เป็นธรรมสามารถพิจารณาได้จาก การดูว่า สัญญานั้นมีการยกเว้นหรือจำกัดความผิดจากการเกิดสัญญาเกินกว่าที่คาดหมาย หรือไม่ คือ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่ต้องรับชอบเกินกว่าที่ควรจะเป็น หรือ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งต้องรับผิดชอบมากกว่าตามที่กฎหมายกำหนด มีการยกเลิกสัญญาโดยไม่มีเหตุที่สมควร หรือ มีการเรียกร้องที่มากกว่าที่ควรเกิดขึ้นในสัญญา มีการคิดค่าปรับความเสียหายสูงเกินกว่าที่ควร... เป็นต้น !
ขอบคุณบทความจาก : houzzMate.com
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น